หน่วยที่ 2 ความปลอดภัย

หัวข้อเรื่อง

แนะนำรายวิชา

บทนำ

1.ความปลอดภัยทั่วไปในการปฏิบัติงาน

2.เครื่องมือและอุปกรณ์ความปลอดภัย

3.สัญลักษณ์ความปลอดภัย

 

สาระสำคัญ 

                ในการปฏิบัติงานผู้ปฏิบัติงานจะต้องคำนึงถึงสภาพแวดล้อมและความปลอดภัยเป็นอันดับแรกเพื่อป้องกันการเกิดอุบัติเหตุกับผู้ปฏิบัติงานซึ่งเป็นปัญหาของผู้บริหารในโรงงานเพราะการเกิดอุบัติเหตุแต่ละครั้งนอกจากจะทำให้งานผลิตหยุดชะงักแล้วยังต้องเสียค่ารักษาพยาบาลเพิ่มขึ้นอีกด้วยในโรงงานจำเป็นต้องมีมาตรการป้องกันหรือลดอุบัติเหตุให้เกิดขึ้นน้อยที่สุดการป้องกันอุบัติเหตุนี้มีความสำคัญมากในการป้องกันและสงวนกำลังคนความเสียหายจะลดน้อยลงได้มากถ้าได้รับการป้องกันโดยทางโรงงานต้องติดตั้งเครื่องมือเครื่องจักรที่มีความปลอดภัยนอกจากนี้ตัวผู้ปฏิบัติงานเองก็ต้องทำงานด้วยความระมัดระวังและปฏิบัติตามกฎของความปลอดภัยโดยเคร่งครัด 

จุดประสงค์การเรียนการสอน 

                  เมื่อนักศึกษาเรียนจบเรื่องนี้แล้วจะสามารถ :

1.อธิบายการป้องกันอันตรายจากการใช่เครื่องมือทั่วไปได้ถูกต้อง

2.อธิบายการใช้เครื่องมือทั่วไปได้ถูกต้อง

3.อธิบายเครื่องมือและอุปกรณ์ความปลอดภัยแต่ละชนิดได้ถูกต้อง

4.อธิบายสัญลักษณ์ความปลอดภัยได้ถูกต้อง 

 

 

 

 

 

 

เนื้อหาสาระ 

1. บทนำ
                  ในการปฏิบัติงานผู้ปฏิบัติงานจะต้องคำนึงถึงสภาพแวดล้อมและความปลอดภัยเป็นอันดับแรกเพื่อป้องกันการเกิดอุบัติเหตุกับผู้ปฏิบัติงานซึ่งเป็นปัญหาของผู้บริหารในโรงงานเพราะการเกิดอุบัติเหตุแต่ละครั้งนอกจากจะทำให้งานผลิตหยุดชะงักแล้วยังต้องเสียค่ารักษาพยาบาลเพิ่มขึ้นอีกด้วยในโรงงานจำเป็นต้องมีมาตรการป้องกันหรือลดอุบัติเหตุให้เกิดขึ้นน้อยที่สุดการป้องกันอุบัติเหตุนี้มีความสำคัญมากในการป้องกันและสงวนกำลังคนความเสียหายจะลดน้อยลงได้มากถ้าได้รับการป้องกันโดยทางโรงงานต้องติดตั้งเครื่องมือเครื่องจักรที่มีความปลอดภัยนอกจากนี้ตัวผู้ปฏิบัติงานเองก็ต้องทำงานด้วยความระมัดระวังและปฏิบัติตามกฎของความปลอดภัยโดยเคร่งครัด

1.   ความปลอดภัยทั่วไปในการปฏิบัติงาน 

1.   อย่านำเครื่องมือที่ชำรุดมาใช้งาน เพราะจะทำให้เกิดอันตรายต่อตนเองและเพื่อนร่วมงาน

 

2.ไม่ควรนำเครื่องมือที่ไม่สมบูรณ์มาใช้งาน เพราะจะมีโอกาสเกิดอุบัติเหตได้ง่ายและอาจเป็นเหตุให้ชิ้นงานเสียหายได้

 

 

3.อย่านำเครื่องมือที่มีลักษณะแหลมคมใส่ในกระเป๋าเสื้อหรือในกางเกงเพราะอาจจะแทงตนเองและคนข้างเคียงได้

 

4.ขณะปฏิบัติงานกับเครื่องจักรควรแต่งกายให้รัดกุม โดยฉพาะผมไม่ควรปล่อยให้ยาวรุ่มร่ามเพาะจะเกิดอันตรายจากเครื่องจักรได้

 

5.ขณะปฏิบัติงานกับเครื่องจักรต้องมีสมาธิและมีความตั้งอกตั้งใจสายตาต้องมองที่ชิ้นงานตลอดเวลา ถ้าเหม่อลอยจะทำให้เกิดอุบัติเหตุได้ง่าย

 

 

 

6.ขณะปฏิบัติการเจาะ ผู้ปฏิบัติต้องระมัดระวัง เพราะการประมาทและสะเพร่าจะทำให้เกิดอุบัติเหตุได้

 

7.เครื่องเจียระไน ต้องประกอบด้วยกระป๋องน้ำสำหรับหล่อเย็น และกระจกป้องกันเศษโลหะ ถ้าหากขาดอุปกรณ์ดังกล่าวนี้แล้วจะก่อให้เกิดอุบัติเหตุกับผู้ปฏิบัติงานอยู่เสมอ

 

8.ล้อหินเจียระไน   เมื่อใช้งานในช่วงระยะเวลาหนึ่ง ด้านหน้าของล้อหินจะไม่เรียบถ้าปล่อยทิ้งไว้ ชิ้นงานที่เจียระไนอาจลื่นไถลทำให้เกิดอุบัติเหตุได้ เพื่อเป็นการป้องกันอันตรายผู้ปฏิบัติงานจะต้องทำการเจียระไนแต่งหน้าหินด้วยอุปกรณ์แต่งผิวหน้าของหินเจียระไน

 

9.สกัดเมื่อใช้งานเป็นเวลานานหัวจะบานออกคล้ายดอกเห็ดเนื่องจากถูกตอกตีด้วยค้อนซึ่งลักษณะของหัวสกัดเช่นนี้จะทำให้หัวค้อนเลื่อนได้ง่ายขณะตอกตีดังนั้นผู้ปฏิบัติงานควรนำไปลับด้วยหินเจียระไน ให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน

 

10.  ก่อนใช้เครื่องเจียระไนควรตรวจสอบเครื่องเจียระไนเสียก่อน และที่สำคัญระยะห่างของล้อหินกับแท่นรองรับชิ้นงานต้องอยู่ห่างกันไม่เกิน 2 ม.ม.

 

11.  เครื่องเจียระไนจะต้องมีอุปกรณ์ป้องกันให้ครบ เช่นกระจกป้องกันประกายไฟและน้ำหล่อเย็น และต้องสวมแว่นนิรภัยเพื่อป้องกันอันตรายจากการเจียระไน

 

12.   เพื่อป้องกันการกระแทกที่รุนแรงขณะใช้ประแจ สิ่งที่ควรปฏิบัติก็คือ การคลายนัตควรดึงประแจเข้าหาตัวแต่ถ้าจำเป็นต้องดันไม่ควรกำมือ แต่ให้ใช้ฝ่ามือดันไปข้างหน้า

 

 

 

 

13.  ไม่ควรปล่อยให้โรงงานสกปรก รกรุงรัง ไม่เป็นระเบียบ

 

14 . ควรบำรุงรักษาอุปกรณ์และเครื่องจักรให้สะอาดให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งานอยู่เสมอ

 

15.  อย่าให้งานเกินกำลังของเครื่องจักรเพราะมีโอกาสเกิดอันตราย

 

 

16.ทุกครั้งที่ปฏิบัติงานกับเครื่องจักรต้องปฏิบัติงานด้วยความตั้งใจและเฝ้าดูตลอดเวลาไม่ควรสนใจด้านอื่น

 

17.ไม่ควรนำเครื่องมือที่แหลมคมมาหยอกล้อกันในขณะปฏิบัติงาน

 

18.ต้องปฏิบัติด้วยความระมัดระวังและรอบคอบอย่าให้เครื่องมือหล่นจากโต๊ะ เพราะนอกจากจะเกิดอันตรายแก่ผู้ปฏิบัติงานแล้ว ยังเป็นเหตุให้เครื่องมือเสียหายอีกด้วย

 

 

19. ในสถานที่ปฏิบัติงานต้องมีแสงสว่างเพียงพอและมีการระบายอากาศที่ดี

20.  ควรสวมชุดที่รัดกุมขณะปฏิบัติงานและไม่ควรสวมใส่เครื่องประดับ

21.  การเคลื่อนย้ายชิ้นงานยาวๆควรถือในลักษณะตั้งขึ้น

22 .  การเคลื่อนย้ายของหนักๆในโรงงานโดยมีคนยกหลายๆคนต้องมีคนคอยควบคุมบอกทิศทางการเดิน

 

23.  การยกของที่มีน้ำหนักมากควรยกขึ้นด้วยกำลังของขา 

ไม่ควรใช้กำลังยกจากหลังเพราะจะเป็นสาเหตุให้หลังเคล็ดขัดยอกหรือกระดูกสันหลังเคลื่อนได้

 

24.  การเคลื่อนย้ายชิ้นงานด้วยรอกแขวนนั้นควรผลักชิ้นงานจากด้านหลัง  หรือ  ถ้าจำเป็นต้องดึงจากด้านหน้าควรใช้เชือกมัดแล้วดึงโดยให้จุดตกมีระยะห่างจากตัว

 

 

 

25.การดึงชิ้นงานที่มีน้ำหนักมากด้วยรอกนั้นผู้ปฏิบัติงานควรยืนให้เยื้องกับทิศทางการดึงหรือหลบเข้าที่กำบังเพื่อป้องกันเชือกขาดและย้อนเข้าหาตัวอาจได้รับอันตรายได้

 

 

2.     เครื่องมือและอุปกรณ์ความปลอดภัย 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

3.    สัญลักษณ์ความปลอดภัย 

        การปฏิบัติงานในโรงงานมีเครื่องจักรหลายประเภท  บางประเภทมีอันตรายต่อผู้เข้าใกล้บางประเภทเป็นเครื่องมือและอุปกณ์ป้องกันช่วยให้ปลอดภัยซึ่งสิ่งเหล่านี้ควรมีป้ายบอกหรือสัญลักษณ์คำเตือนแสดงให้เห็นโดยทั่วไป ซึ่งสามารถป้องกันการเกิดอันตรายหรืออุบัติเหตุได้ส่วนหนึ่ง

สีเพื่อความปลอดภัย 

ในโรงงานอุตสาหกรรมมีการใช้สีแสดงเครื่องหมายเตือนและเครื่องหมายห้ามเกี่ยวกับความปลอดภัยต่างๆดังนี้

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

สัญลักษณ์ความปลอด

 

 

 

 

 

 

2.เครื่องหมายบังคับ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

4.เครื่องหมายเตือน

 

 

 

 

 

 

สรุปเนื้อหา

การเกิดอุบัติเหตุมีสาเหตุมาจาก

1.ความประมาทของผู้ปฏิบัติงาน         2.เกิดจากเครื่องมือและเครื่องจักรที่ชำรุด

การป้องกันอุบัติเหตุ  ทำได้โดย

1.สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอุบัติเหตุ

2.กำหนดสัญลักษณ์ความปลอดภัย

1.ใช้สีแสดงถึงอันตราย

2.เครื่องหมายห้าม

3.เครื่องหมายบังคับ

4.เครื่องหมายสภาวะปลอดภัย

5.เครื่องหมายเตือน

 

 

 

 

 

 

 

หัวข้อเรื่อง

แนะนำรายวิชา

บทนำ

1.ความปลอดภัยทั่วไปในการปฏิบัติงาน

2.เครื่องมือและอุปกรณ์ความปลอดภัย

3.สัญลักษณ์ความปลอดภัย

 

สาระสำคัญ 

                ในการปฏิบัติงานผู้ปฏิบัติงานจะต้องคำนึงถึงสภาพแวดล้อมและความปลอดภัยเป็นอันดับแรกเพื่อป้องกันการเกิดอุบัติเหตุกับผู้ปฏิบัติงานซึ่งเป็นปัญหาของผู้บริหารในโรงงานเพราะการเกิดอุบัติเหตุแต่ละครั้งนอกจากจะทำให้งานผลิตหยุดชะงักแล้วยังต้องเสียค่ารักษาพยาบาลเพิ่มขึ้นอีกด้วยในโรงงานจำเป็นต้องมีมาตรการป้องกันหรือลดอุบัติเหตุให้เกิดขึ้นน้อยที่สุดการป้องกันอุบัติเหตุนี้มีความสำคัญมากในการป้องกันและสงวนกำลังคนความเสียหายจะลดน้อยลงได้มากถ้าได้รับการป้องกันโดยทางโรงงานต้องติดตั้งเครื่องมือเครื่องจักรที่มีความปลอดภัยนอกจากนี้ตัวผู้ปฏิบัติงานเองก็ต้องทำงานด้วยความระมัดระวังและปฏิบัติตามกฎของความปลอดภัยโดยเคร่งครัด 

จุดประสงค์การเรียนการสอน 

                  เมื่อนักศึกษาเรียนจบเรื่องนี้แล้วจะสามารถ :

1.อธิบายการป้องกันอันตรายจากการใช่เครื่องมือทั่วไปได้ถูกต้อง

2.อธิบายการใช้เครื่องมือทั่วไปได้ถูกต้อง

3.อธิบายเครื่องมือและอุปกรณ์ความปลอดภัยแต่ละชนิดได้ถูกต้อง

4.อธิบายสัญลักษณ์ความปลอดภัยได้ถูกต้อง 

 

 

 

 

 

 

เนื้อหาสาระ 

1. บทนำ
                  ในการปฏิบัติงานผู้ปฏิบัติงานจะต้องคำนึงถึงสภาพแวดล้อมและความปลอดภัยเป็นอันดับแรกเพื่อป้องกันการเกิดอุบัติเหตุกับผู้ปฏิบัติงานซึ่งเป็นปัญหาของผู้บริหารในโรงงานเพราะการเกิดอุบัติเหตุแต่ละครั้งนอกจากจะทำให้งานผลิตหยุดชะงักแล้วยังต้องเสียค่ารักษาพยาบาลเพิ่มขึ้นอีกด้วยในโรงงานจำเป็นต้องมีมาตรการป้องกันหรือลดอุบัติเหตุให้เกิดขึ้นน้อยที่สุดการป้องกันอุบัติเหตุนี้มีความสำคัญมากในการป้องกันและสงวนกำลังคนความเสียหายจะลดน้อยลงได้มากถ้าได้รับการป้องกันโดยทางโรงงานต้องติดตั้งเครื่องมือเครื่องจักรที่มีความปลอดภัยนอกจากนี้ตัวผู้ปฏิบัติงานเองก็ต้องทำงานด้วยความระมัดระวังและปฏิบัติตามกฎของความปลอดภัยโดยเคร่งครัด

1.   ความปลอดภัยทั่วไปในการปฏิบัติงาน 

1.   อย่านำเครื่องมือที่ชำรุดมาใช้งาน เพราะจะทำให้เกิดอันตรายต่อตนเองและเพื่อนร่วมงาน

 

2.ไม่ควรนำเครื่องมือที่ไม่สมบูรณ์มาใช้งาน เพราะจะมีโอกาสเกิดอุบัติเหตได้ง่ายและอาจเป็นเหตุให้ชิ้นงานเสียหายได้

 

 

3.อย่านำเครื่องมือที่มีลักษณะแหลมคมใส่ในกระเป๋าเสื้อหรือในกางเกงเพราะอาจจะแทงตนเองและคนข้างเคียงได้

 

4.ขณะปฏิบัติงานกับเครื่องจักรควรแต่งกายให้รัดกุม โดยฉพาะผมไม่ควรปล่อยให้ยาวรุ่มร่ามเพาะจะเกิดอันตรายจากเครื่องจักรได้

 

5.ขณะปฏิบัติงานกับเครื่องจักรต้องมีสมาธิและมีความตั้งอกตั้งใจสายตาต้องมองที่ชิ้นงานตลอดเวลา ถ้าเหม่อลอยจะทำให้เกิดอุบัติเหตุได้ง่าย

 

 

 

6.ขณะปฏิบัติการเจาะ ผู้ปฏิบัติต้องระมัดระวัง เพราะการประมาทและสะเพร่าจะทำให้เกิดอุบัติเหตุได้

 

7.เครื่องเจียระไน ต้องประกอบด้วยกระป๋องน้ำสำหรับหล่อเย็น และกระจกป้องกันเศษโลหะ ถ้าหากขาดอุปกรณ์ดังกล่าวนี้แล้วจะก่อให้เกิดอุบัติเหตุกับผู้ปฏิบัติงานอยู่เสมอ

 

8.ล้อหินเจียระไน   เมื่อใช้งานในช่วงระยะเวลาหนึ่ง ด้านหน้าของล้อหินจะไม่เรียบถ้าปล่อยทิ้งไว้ ชิ้นงานที่เจียระไนอาจลื่นไถลทำให้เกิดอุบัติเหตุได้ เพื่อเป็นการป้องกันอันตรายผู้ปฏิบัติงานจะต้องทำการเจียระไนแต่งหน้าหินด้วยอุปกรณ์แต่งผิวหน้าของหินเจียระไน

 

9.สกัดเมื่อใช้งานเป็นเวลานานหัวจะบานออกคล้ายดอกเห็ดเนื่องจากถูกตอกตีด้วยค้อนซึ่งลักษณะของหัวสกัดเช่นนี้จะทำให้หัวค้อนเลื่อนได้ง่ายขณะตอกตีดังนั้นผู้ปฏิบัติงานควรนำไปลับด้วยหินเจียระไน ให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน

 

10.  ก่อนใช้เครื่องเจียระไนควรตรวจสอบเครื่องเจียระไนเสียก่อน และที่สำคัญระยะห่างของล้อหินกับแท่นรองรับชิ้นงานต้องอยู่ห่างกันไม่เกิน 2 ม.ม.

 

11.  เครื่องเจียระไนจะต้องมีอุปกรณ์ป้องกันให้ครบ เช่นกระจกป้องกันประกายไฟและน้ำหล่อเย็น และต้องสวมแว่นนิรภัยเพื่อป้องกันอันตรายจากการเจียระไน

 

12.   เพื่อป้องกันการกระแทกที่รุนแรงขณะใช้ประแจ สิ่งที่ควรปฏิบัติก็คือ การคลายนัตควรดึงประแจเข้าหาตัวแต่ถ้าจำเป็นต้องดันไม่ควรกำมือ แต่ให้ใช้ฝ่ามือดันไปข้างหน้า

 

 

 

 

13.  ไม่ควรปล่อยให้โรงงานสกปรก รกรุงรัง ไม่เป็นระเบียบ

 

14 . ควรบำรุงรักษาอุปกรณ์และเครื่องจักรให้สะอาดให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งานอยู่เสมอ

 

15.  อย่าให้งานเกินกำลังของเครื่องจักรเพราะมีโอกาสเกิดอันตราย

 

 

16.ทุกครั้งที่ปฏิบัติงานกับเครื่องจักรต้องปฏิบัติงานด้วยความตั้งใจและเฝ้าดูตลอดเวลาไม่ควรสนใจด้านอื่น

 

17.ไม่ควรนำเครื่องมือที่แหลมคมมาหยอกล้อกันในขณะปฏิบัติงาน

 

18.ต้องปฏิบัติด้วยความระมัดระวังและรอบคอบอย่าให้เครื่องมือหล่นจากโต๊ะ เพราะนอกจากจะเกิดอันตรายแก่ผู้ปฏิบัติงานแล้ว ยังเป็นเหตุให้เครื่องมือเสียหายอีกด้วย

 

 

19. ในสถานที่ปฏิบัติงานต้องมีแสงสว่างเพียงพอและมีการระบายอากาศที่ดี

20.  ควรสวมชุดที่รัดกุมขณะปฏิบัติงานและไม่ควรสวมใส่เครื่องประดับ

21.  การเคลื่อนย้ายชิ้นงานยาวๆควรถือในลักษณะตั้งขึ้น

22 .  การเคลื่อนย้ายของหนักๆในโรงงานโดยมีคนยกหลายๆคนต้องมีคนคอยควบคุมบอกทิศทางการเดิน

 

23.  การยกของที่มีน้ำหนักมากควรยกขึ้นด้วยกำลังของขา 

ไม่ควรใช้กำลังยกจากหลังเพราะจะเป็นสาเหตุให้หลังเคล็ดขัดยอกหรือกระดูกสันหลังเคลื่อนได้

 

24.  การเคลื่อนย้ายชิ้นงานด้วยรอกแขวนนั้นควรผลักชิ้นงานจากด้านหลัง  หรือ  ถ้าจำเป็นต้องดึงจากด้านหน้าควรใช้เชือกมัดแล้วดึงโดยให้จุดตกมีระยะห่างจากตัว

 

 

 

25.การดึงชิ้นงานที่มีน้ำหนักมากด้วยรอกนั้นผู้ปฏิบัติงานควรยืนให้เยื้องกับทิศทางการดึงหรือหลบเข้าที่กำบังเพื่อป้องกันเชือกขาดและย้อนเข้าหาตัวอาจได้รับอันตรายได้

 

 

2.     เครื่องมือและอุปกรณ์ความปลอดภัย 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

3.    สัญลักษณ์ความปลอดภัย 

        การปฏิบัติงานในโรงงานมีเครื่องจักรหลายประเภท  บางประเภทมีอันตรายต่อผู้เข้าใกล้บางประเภทเป็นเครื่องมือและอุปกณ์ป้องกันช่วยให้ปลอดภัยซึ่งสิ่งเหล่านี้ควรมีป้ายบอกหรือสัญลักษณ์คำเตือนแสดงให้เห็นโดยทั่วไป ซึ่งสามารถป้องกันการเกิดอันตรายหรืออุบัติเหตุได้ส่วนหนึ่ง

สีเพื่อความปลอดภัย 

ในโรงงานอุตสาหกรรมมีการใช้สีแสดงเครื่องหมายเตือนและเครื่องหมายห้ามเกี่ยวกับความปลอดภัยต่างๆดังนี้

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

สัญลักษณ์ความปลอด

 

 

 

 

 

 

2.เครื่องหมายบังคับ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

4.เครื่องหมายเตือน

 

 

 

 

สรุปเนื้อหา

การเกิดอุบัติเหตุมีสาเหตุมาจาก

1.ความประมาทของผู้ปฏิบัติงาน         2.เกิดจากเครื่องมือและเครื่องจักรที่ชำรุด

การป้องกันอุบัติเหตุ  ทำได้โดย

1.สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอุบัติเหตุ

2.กำหนดสัญลักษณ์ความปลอดภัย

1.ใช้สีแสดงถึงอันตราย

2.เครื่องหมายห้าม

3.เครื่องหมายบังคับ

4.เครื่องหมายสภาวะปลอดภัย

5.เครื่องหมายเตือน